RSS

Tag Archives: จิตวิทยา

ความสุขเป็นกระบวนการมากกว่า จุดหมายปลายทาง


Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,

บันได 7 ขั้นไปสู่ความสุข (ความสามารถที่จะชื่นชมกับชีวิต)


Diane Swanbrow, The Paradox of Happiness, Psychology Today 7-8/1989.

1. ให้ความสำคัญอันดับแรกกับการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนที่คุณรัก เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะนำไปสู่ชีวิตที่มีความสุข

Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,

เศรษฐศาสตร์ของความสุข The Economics of Happiness


Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,

เป็นคนที่ควบคุมสิ่งต่างๆได้ (Personal Control): คนมีความสุขคือคนที่เชื่อว่าเขาเป็นคนที่เลือกชะตาชีวิตของตนเองได้


การสำรวจประชากรทั่วประเทศสหรัฐฯ โดย แองกุส แคมป์เบล มหาวิทยาลัยมิชิแกน พบว่าคนที่มีความรู้สึกว่าเขาสามารถควบคุมชีวิตของเขาเองได้ จะจัดการกับตัวที่ทำให้เกิดความเครียดได้ดีกว่า และจะมีความรู้สึกในทางบวก หรือความพอใจในชีวิตมากกว่า

Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,

แนะนำหนังสือใหม่: Dictionary of Psychology and Self Development อธิบายศัพท์จิตวิทยาและการพัฒนาตนเอง


DICTIONARY of psychology and self DEVELOPMENT

อธิบายศัพท์ จิตวิทยาและการพัฒนาตนเอง

 

 ติดต่อสั่งซื้อหนังสือได้ที่

 สำนักพิมพ์สายธารวิญญชน

 

 

 

ป้ายกำกับ:

เป็นคนเปิดตัว (Extrovert) : คนมีความสุข คือ คนที่ชอบออกไปสังสรรค์กับคนอื่น


Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,

มองโลกในแง่ดี : คนทีความสุขคือคนที่มีความหวังเต็มเปี่ยม


คนที่มองโลกในแง่ดี คือ มีความเชื่อมั่นว่าตัวเองสามารถทำอะไรได้แทบทุกอย่าง และถ้าทำอะไรใหม่ๆ ก็คาดว่าจะสำเร็จจะเป็นคนที่มีความสุขมากกว่าคนที่มองโลกในแง่ร้าย คนที่มองโลกในแง่ดี คือ คนที่มองส่วนที่เป็นน้ำในแก้วที่มีน้ำอยู่ครึ่งหนึ่งว่า ดีนะที่มีน้ำอยู่ครึ่งแก้ว ส่วนคนมองโลกในแง่ร้าย คือ คนที่มองเห็นส่วนที่ว่างเปล่าของแก้วแล้วคิดว่าทำไมมีน้ำแค่ครึ่งแก้ว

Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,

การมีความภาคภูมิใจในตัวเอง (Self Esteem) : คนมีความสุขคือคนที่ชอบหรือพอใจในตัวเอง (แต่ไม่ถึงขั้นหลงตัว)


คนที่ชอบตัวเองและยอมรับตัวเองอย่างที่เป็นอยู่ รวมทั้งคิดว่าคนอื่นมองเขาในทางที่ดี คือคนที่โดยทั่วไปรู้สึกต่อชีวิตในทางที่ดี คนเหล่านี้อาจจะมีอคติต่อตัวเองในทางบวกในระดับหนึ่ง เช่น ยอมรับว่า ตัวเองเป็นผู้ที่รับผิดชอบต่อความสำเร็จหรือการกระทำดีๆ มากกว่าความล้มเหลวหรือการกระทำที่ไม่ดี การมองตัวเองในทางบวกอย่างมีอคตินิดหน่อยเป็นปัจจัยคุ้มครองพวกเขาจากความกังวลใจและซึมเศร้า พวกเขามักจะมองตัวเองว่าอยู่เหนือกว่าคนระดับถั่วเฉลี่ย และจะเลือกมองส่วนดี มองแง่บวกของตัวเอง ไม่ค่อยรู้สึกว่าตัวเองด้อยกว่าคนอื่น ในทางตรงกันข้าม คนที่ชอบรู้สึกเปรียบเทียบว่าตัวเองด้อยกว่าคนอื่น มักจะเป็นคนไม่ค่อยมีความสุข

โดยรวมแล้วคนที่พอใจตัวเองในระดับที่เหมาะสม ไม่ถึงขั้นหลงตัวเอง หรือไม่เคร่งเครียดที่จะมีบีบคั้นตัวเองให้เป็นคนภาคภูมิใจในตัวเองสูง (ซึ่งคนอเมริกันบางกลุ่มในบางยุคถูกกระแสการแข่งขันเพื่อความสำเร็จเรียกร้องให้เป็น) จะมีความสุขมากกว่าคนที่ขาดความรู้สึกแบบนี้ โดยเฉพาะในประเทศที่มีวัฒนธรรมแบบปัจเจกชนนิยมสูง เช่น ประเทศพัฒนาอุตสาหกรรม ปัจจัยนี้จะมีความสำคัญสูง

วิทยากร เชียงกูล
จิตวิทยาในการสร้างความสุข. – –  กรุงเทพฯ : สายธาร, 2548.
ISBN : 974-9602-62-1

 

ป้ายกำกับ: , , ,

จะแสวงหาความสุขที่แท้จริงได้อย่างไร (How to Find True Happiness)



นักวิจัย นักจิตวิทยาที่ปรึกษาเรื่องการปรับปรุงคุณภาพชีวิต ล้วนเชื่อคนทุกคนมีพลังที่จะสร้างความสุขได้ ความสุขคือวิธีที่คุณมองโลก คนที่มีความสุข คือ คนที่รู้จักเพ่งความสนใจไปที่ชัยชนะเล็กๆน้อยและโอกาสที่ทุกอย่างจะเป็นไปด้วยดี แทนที่จะมัวกังวลแต่ปัญหา พวกเขามองเห็นความเป็นไปได้ในทางที่ดีที่สุดของทุกสถานการณ์ พวกเขามีความเชื่อมั่นในความสามารถของตัวเองที่จะจัดการกับปัญหา และพวกเขามีชีวิตอยู่อย่างมีจุดมุ่งหมาย

Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,

ความคาดหมายที่สมจริงของการแต่งงานแบบเปิด


  • คาดหมายว่า คุณจะมีส่วนร่วมกันในหลายๆสิ่ง แต่ไม่ใช่ทุกสิ่ง
  • คาดหมายว่า คู่ครองแต่ละคนจะมีการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงนั้นอาจเกิดขึ้นจาการขัดแย้งได้เท่าๆกับการค่อยๆเป็นไปตามลำดับ
    Read the rest of this entry »
 

ป้ายกำกับ: , , , ,

ความคาดหมายที่ไม่สมจริงของการแต่งงานแบบปิด


อุดมคติที่ไม่มีเหตุผลและความเชื่อตามนิยามของการแต่งงานแบบปิด

Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , , ,

ของและการห่อของ ในชีวิตคู่


ความคาดหมายอย่างผิดๆ เกี่ยวกับความมั่นคงในชีวิตการแต่งงาน เป็นความคาดหมายที่ไม่สมจริงที่กีดกันเราจากการที่จะมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน และกีดกันเราออกจากความกระตือรือร้นในการแสวงหาเสรีภาพ การเจริญงอกงาม ความรัก ในความสัมพันธ์กับคู่ครองของเรา ถ้าหากเราไม่พิจารณาความคาดหมายต่างๆ ที่ตบตาเราโดยสัญญาการแต่งงานแบบปิดอย่างใกล้ชิด เราย่อมไม่สามารถร่างสัญญาการแต่งงานแบบใหม่ให้เหมาะสมกับความต้องการที่แท้จริงของเราได้

Read the rest of this entry »

 

ป้ายกำกับ: , , ,